ผลลัพธ์ที่ดีต่อสุขภาพที่คาดไม่ถึง
มากินกล้วยต้มกัน ผลลัพธ์ที่ดีต่อสุขภาพที่คาดไม่ถึง
– ความเครียด
– รับประทานอาหารมื้อดึก
– ยาบางชนิด
– ใช้โทรศัพท์มือถือบ่อย
รวมถึงการรับประทานยาแก้ปวด ยาแก้แพ้ ยาควบคุมความดันโลหิต ที่ทำให้เกิดอาการนอนไม่หลับได้อีกด้วย
ในขณะที่ยาบางชนิดทำให้เกิดอาการง่วงนอนและอาจจะทำให้คุณหลับได้ง่ายขึ้น แต่มันยังไปส่งผลถึงการกระตุ้นการปัสสาวะและความวิตกกังวล ซึ่งจะทำให้คุณไม่ได้นอนพักผ่อนอย่างเต็มที่ และอีอย่างที่ใครหลายคนก็ชอบทำคือ การเล่นโทรศัพท์เป็นระยะเวลานานเกินไปก่อนที่คุณจะเข้านอน ซึ่งจะส่งผลทำให้เกิดอาการนอนไม่หลับตามมาได้
วิธีรักษาอาการนอนไม่หลับด้วยวิธีทางธรรมชาติ
สูตรน้ำชากล้วย
เพื่อช่วยในการนอนของคุณให้นอนหลับพักผ่อนได้ดีขึ้น ด้วยกล้วยต้มนี้ ซึ่งมันจำเป็นอย่างยิ่งในการที่จะล้างสารเคมีที่ติดออกมาก่อน กล้วยนั้นอุดมไปด้วย โพแทสเซียมและแมกนีเซียม ซึ่งแร่ธาตุทั้ง 2 ธาตุนี้จะช่วยในการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ ส่งผลทำให้ร่างกายของเรานอนหลับผ่อนคลายได้อย่างสบาย ดำเนินการต้ม กล้วยนี้เป็นหลักๆอยู่ที่ประมาณ 10 นาทีเท่านั้น และนำไปดื่มในช่วงเวลาก่อนที่คุณจะนอน
ส่วนผสม
– กล้วยจำนวนหนึ่ง
– น้ำสะอาดในหม้อขนาดเล็ก
– อบเชย
ขั้นตอน
นำกล้วยลงไปต้มลงในหม้อโดยตัดหัวและท้ายของกล้วยออก โดยต้มประมาณ 10 นาที แล้วเทน้ำออกมาใส่แก้ว เพิ่มรสชาติอบเชยและชากล้วย นำน้ำชากล้วยนี้ไป ดื่มก่อนที่คุณจะนอนประมาณ 1 ชั่วโมง เพียงเท่านี้ก็จะทำให้คุณนอนหลับได้เป็นอย่างสบายใจและพักผ่อนได้อย่างเต็มที่
คนอเมริกาส่วนใหญ่จะใช้ยานอนหลับกันเป็นส่วนมาก ซึ่งมันอาจจะส่งผลช่วยในการนอนหลับได้เป็นอย่างดี แต่อีกด้านหนึ่งก็คือ มันจะมีผลแทรกซ้อนเกี่ยวกับสุขภาพของเราในระยะยาว
ยานอนหลับสูตรนี้ช่วยทำให้คุณนอนหลับได้สบายมากขึ้น และยังมีประโยชน์ต่อสุขภาพของคุณด้วยค่ะ รู้แบบนี้แล้วก็ลองนำไปทำดื่มกันนะค่ะ
ขอบคุณข้อมูลจาก kaijeaw
ที่มา : http://www.share-si.com/2016/06/blog-post_2.html
บทความที่มีเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกับสุขภาพทั้งหมด ทางเว็บไซต์ได้รวบรวมไว้เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ผู้อ่านเท่านั้น จึงไม่สามารถนำไปใช้นำไปอ้างอิงหรือใช้แทนการวินิจฉัยของแพทย์ได้ หากมีการนำข้อมูลในเว็บไซต์ไปใช้ ทางเว็บไซต์จะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น จากการนําข้อมูลดังกล่าวไปใช้ ในทุกกรณี โดยไม่มีข้อยกเว้น ดังนั้นควรปรึกษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อขอคำอธิบายเพิ่มเติม และควรต้องทราบว่า ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตเป็นข้อมูลทั่วๆ ไป ไม่สามารถนำมาใช้ได้กับคนไข้ทุกๆคน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น